บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 892
เมื่อวาน 1,522
สัปดาห์นี้ 2,414
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 43,614
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,388,111
  Your IP :3.141.24.134

15. ปัญหาเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือ

 

      โทรศัพท์มือถือ ก็เหมือนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป เมื่อใช้งานไป ก็อาจจะเกิดปัญหาขึ้นได้ ทั่วไปแล้วมีดังนี้

 

j การสึกหรอของเครื่องทั้งส่วนภายใน และภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อตกน้ำ เครื่องเปียก หรือใช้มือเปียก ๆ มากดปุ่ม ในเบื้องต้นก็คืออย่าให้โทรศัพท์มือถือเปียก อย่าเปิดเครื่องจนกว่าจะแน่ใจว่าไม่มีความชื้นอยู่ในโทรศัพท์มือถือแล้ว เพราะถ้าเผลอไปเปิด จะทำให้ชิ้นส่วนภายในโดยเฉพาะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อาจเกิดความเสียหายได้

 

 

รูปโทรศัพท์มือถือตกน้ำ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

รูปการนำมือถือไปหมกฝังในข้าวสารข้ามคืน เป็นวิธีแก้ปัญหาเครื่องโดนน้ำทางหนึ่ง ข้าวสารจะช่วยดูดน้ำออกมาได้ (ปิดเครื่อง แล้วแกะเครื่องออกมาให้มากที่สุด)

 

j ความร้อนจัดจากภายนอก เช่น ไว้ในรถที่ตากแดด หรือถูกเปลวไฟ สามารถทำให้แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เสียหายได้ ในที่เย็นจัดก็เหมือนกันอาจทำให้เกิดหน้าจอแสดงผลดับ หรือเสียหายชั่วคราว

 

 

รูปสภาพของมือถือที่ทิ้งไว้ในรถช่วงอากาศร้อน

 

 

รูปสภาพแบตเตอรี่มือถือที่บวม และระเบิด

 

j โทรศัพท์มือถือแบบอนาล็อก หรือรุ่นเก่า อาจจะเกิดปัญหาจากการโคลนนิ่ง (Cloning) เมื่อมีผู้ขโมยหมายเลขไอดี และสามารถนำไปใช้เพื่อโทรหลอกลวงคนที่เรารู้จักให้เสียทรัพย์สินได้

 

 

รูปการขโมยไอดีเพื่อใช้โทรศัพท์มือถือจากผู้ไม่หวังดี

 

      นี้คือกรณีศึกษาของวิธีการโคลนที่เกิดขึ้น: เมื่อคุณได้ใช้โทรศัพท์ในการโทรออก มันจะส่งหมายเลขอนุกรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเอสเอน (Electronic Serial Number: ESN) และหมายเลขประจำตัวมือถือ หรือเอ็มไอเอ็น (Mobile Identification Number: MIN) หรือเบอร์มือถือ ไปยังเครือข่ายที่เป็นจุดเริ่มต้นของการโทร

 

      ทั้งเอ็มไอเอ็น / อีเอสเอ็น ทั้งคู่ในโทรศัพท์มือถือทุกหมายเลขจะเป็นแท็กที่ไม่ซ้ำกัน นี่เป็นวิธีของทางบริษัทผู้ให้บริการ เพื่อจะรู้ว่าสามารถเรียกเก็บเงินค่าบริการโทรศัพท์จากใคร

 

 

รูปการขโมยการใช้งานโทรศัพท์มือถือของมิจฉาชีพ

 

      เมื่อขณะที่คุณส่ง เอ็มไอเอ็น / อีเอสเอ็นทั้งคู่ ทำให้มันมีความเป็นไปได้สำหรับคนที่คิดไม่ดีชั่วร้าย ที่จะดักฟัง ด้วยวิธีการที่เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) และทำการจับคู่ ด้วยอุปกรณ์ของมิจฉาชีพที่เหมาะกัน จากนั้นมันก็เป็นเรื่องที่ค่อนข้างจะง่ายที่จะทำการปรับเปลี่ยนโทรศัพท์เครื่องอื่นเพื่อจะบรรจุคู่เอ็มไอเอ็น / อีเอสเอ็นของคุณ ซึ่งช่วยให้ผู้กระทำความผิดได้จากการโทรด้วยบัญชีของคุณ

 

 

รูปตัวอย่างการสแกนโทรศัพท์มือถือของมิจฉาชีพ

 

วิดีโอการขโมยใช้งานโทรศัพท์มือถือจากผู้ไม่หวังดี

 

จบบทความ

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ตราบเท่าที่ บาป ยังไม่ให้ผล

คนเขลายังเข้าใจว่า มีรสหวาน

แต่บาปให้ผลเมื่อใด

คนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น”

พุทธพจน์

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา