บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,827
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 8,057
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 36,292
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,380,789
  Your IP :3.145.119.199

      ยกตัวอย่างเช่น กองอิฐมีมวล 1,000 กิโลกรัม ที่ใช้สร้างตึกสูงจะมีน้ำหนัก 9,800 นิวตัน เมื่อวางอยู่บนพื้นโลก แต่มันจะมีน้ำหนักน้อยลงเมื่อมันถูกยกขึ้นสู่อาคารสูง จากพื้นไปถึงชั้นสูงสุด (การลดลงอาจจะไม่มาก ขึ้นอยู่กับค่า จี ณ ระดับนั้น ๆ)

 

      นี้เป็นอีกหนึ่งตัวอย่าง สมมติว่า นักเรียนคนหนึ่งมีมวล 70 กิโลกรัม น้ำหนักของนักเรียน ณ สถานที่หนึ่งที่ซึ่ง ค่า g = 9.80 m/s2 ก็คือ 686 N (ประมาณ 150 lb) ที่ยอดเขา ค่าจีเท่ากับ 9.77 m/s2 น้ำหนักของนักเรียนจะมีเพียง 684 นิวตันเท่านั้น

 

      ดังนั้น หากว่าคุณต้องการลดน้ำหนักโดยไม่ต้องอดอาหาร ก็ให้ปีนไปที่สูง หรือขึ้นเขา หรืออยู่บนเครื่องบิน น้ำหนักก็จะลดลง

 

 

รูปเครื่องบินที่บินเหนือเมฆ

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      สมการที่ 5.6 คือปริมาณของแรงโน้มถ่วงในวัตถุ แต่ขอให้สังเกตว่าสมการนี้ไม่ใช้ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ หรือแม้แต่สำหรับวัตถุที่หยุดนิ่ง หรือสำหรับวัตถุที่ซึ่งมีแรงกระทำเล็กน้อย สมการที่ 5.6 สามารถนำมาใช้เพื่อคำนวณขนาดของแรงโน้มถ่วงเท่านั้น ผลที่ได้ก็คือ การเปลี่ยนแปลงที่ละเอียดอ่อนในการตีความของ m ในสมการ

 

      มวล m ในสมการที่ 5.6 จะระบุถึงแรงของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุ กับโลก บทบาทนี้ดูสมบูรณ์ ซึ่งมีความแตกต่างจากการอธิบายไว้ก่อนหน้านี้ สำหรับมวลที่มีความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ ที่สนองตอบต่อแรงภายนอก เป็นมวล ที่ถูกเรียกว่า มวลเฉื่อย (Inertial mass)

 

      ส่วนมวลในสมการที่ 5.6 เรียกว่า มวลโน้มถ่วง (Gravitational mass) แม้ว่าปริมาณนี้จะมีความแตกต่างกันของพฤติกรรมจากมวลเฉื่อย แต่จากการทดลองสามารถทำเป็นข้อสรุปการทดลองในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของนิวตัน ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า มวลโน้มถ่วง และมวลเฉื่อยจึงมีค่าเดียวกัน

 

      แม้ว่าการอธิบายนี้มีจุดมุ่งเน้นไปยังแรงโน้มถ่วงบนวัตถุ เนื่องจากโลกได้เป็นผู้กระทำ แต่ถ้านำไปคิดคำนวณโดยทั่วไปบนดาวเคราะห์ใด ๆ ค่าจีก็จะมีความแตกต่างกันไปไม่มากก็น้อย แต่ที่แน่ ๆ ขนาดของแรงโน้มถ่วงก็ยังคงใช้สมการของ mg อยู่เสมอ

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

ความคิดนั้นสำคัญมาก

ถือได้ว่าเป็นแม่บทใหญ่ของคำพูด และการกระทำทั้งปวง

กล่าวคือ ถ้าคนเราคิดดี คิดถูกต้อง 

ทั้งตามหลักวิชาและคุณธรรม

คำพูด และการกระทำก็เป็นไปในทางที่ดีที่เจริญ

แต่ถ้าคิดไม่ดีไม่ถูกต้องคำพูด และการกระทำก็อาจก่อความเสียหาย

ทั้งแก่ตัวเอง และส่วนรวมได้

ด้วยเหตุนี้ ก่อนที่บุคคลจะพูดจะทำสิ่งใด 

จำเป็นต้องหยุดคิดเสียก่อนว่า

กิจที่จะทำ คำที่จะพูด ผิดหรือถูก

เป็นคุณประโยชน์ หรือเป็นโทษเสียหาย 

เป็นสิ่งที่ควรพูด ควรกระทำ หรือควรงดเว้น

เมื่อคิดพิจารณาได้ดังนี้ ก็จะสามารถยับยั้งคำพูดที่สมควรหยุดยั้ง 

การกระทำที่ไม่ถูกต้อง พูด และทำแต่สิ่งที่จะสัมฤทธิ์ผลเป็นคุณ

เป็นประโยชน์ และเป็นความเจริญ

 

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๐

 

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา