บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,657
เมื่อวาน 2,429
สัปดาห์นี้ 10,316
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 38,551
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,383,048
  Your IP :3.142.195.24

19.5 สังกะสี

 

 

รูปสัญลักษณ์ทางเคมีของสังกะสี

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      สังกะสี (Zinc) เป็นโลหะที่มีราคาแพง, แล้วเป็นโลหะหนัก การใช้งานส่วนมากจะใช้เป็นธาตุเจือที่จะนำไปผสมกับวัสดุหลัก เพื่อต้องการให้มีความทนทานต่อการกัดกร่อน มันจะเป็นการผสมไปพร้อมกัน เช่น ผสมกับอลูมิเนียม, ทองแดง และไทเทเนียม เพื่อให้ชิ้นงานสามารถพร้อมที่จะไปทำกับเครื่องมือกล หรืองานเชื่อมโลหะ เป็นที่นิยมแพร่หลายส่วนมากในการใช้สังกะสี

 

 

รูปสังกะสี

 

 

      นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการนำไปใช้ในการเคลือบพื้นผิวของโลหะ ผ่านกระบวนการทำ กัลป์วาไนซ์ (Galvanizing) เป็นการใช้ประโยชน์ของสังกะสีเพื่อเคลือบโลหะ และป้องกันการกัดกร่อน

 

 

รูปการณ์ชุบโลหะด้วยสังกะสีด้วยกระบวนการกัลป์วาไนซ์

 

 

 

รูปกระบวนการทำให้สังกะสีบริสุทธิ์

 

      แร่ธาตุสังกะสี จะทำให้เกิดความบริสุทธิ์ได้โดย นำไปทำการ ย่างหรือปิ้ง (Roasting) จากนั้นก็เอาไปผ่านการบดละเอียด ก่อนที่จะเข้าเตาหลอมจะต้องทำให้เป็นสังกะสีประสม (สารประกอบสังกะสีกำมะถัน (Zinc sulfide)) หรือรูปแบบอื่น ๆ ผสมไปในแร่สังกะสีแล้วลงไปในเตาหลอม

 

      สังกะสีที่ทำการประสม จะเปลี่ยนไปเป็นละอองไอในออกซิเจนอิสระ (Oxygen-free) ที่ชั้นบรรยากาศ และควบแน่นไปเป็นสังกะสีเหลวในตู้บรรจุเหนือแร่ที่ถูกปิ้ง

 

      นอกจากนี้ สังกะสียังสามารถทำให้บริสุทธิ์ด้วย วิธีการใช้ไฟฟ้า (Electrolytically) ซึ่งมีกระบวนการคล้ายกันกับอลูมิเนียม และแมกนีเซียมที่แยกด้วยไฟฟ้า

 

 

 

19.6 การทำกัลป์วาไนซ์

 

      กัลป์วาไนซ์มีการใช้อย่างกว้างขวาง ที่ทำขึ้นเพื่อใช้ในทางการค้า ในการเคลือบปกป้องชั้นพื้นผิวของเหล็กกล้า

 

 

รูปตัวอย่างที่เราเคยเห็นการทำกัลป์วาไนซ์หลังคาเหล็ก เป็นหลังคาสังกะสี

 

ในกระบวนการนี้ จะเกิดผิวเคลือบเป็นชั้นบาง ๆ ของสังกะสี ให้กับโลหะที่เป็นแผ่น เป็นท่อนยาว หรือเส้นลวด เพื่อเป็นชั้นปกป้องบาง ๆ ขั้นพื้นฐานของโลหะ เนื่องจากนานไปจะเกิดการกัดกร่อน (Sacrificial corrosion) พูดง่าย ๆ อากาศ และความชื้นจะกัดกร่อนชั้นของสังกะสีก่อนที่จะเจอโลหะหลัก

 

เหล็กกล้าจะผ่านกระบวนกัลป์วาไนซ์ โดยการจุ่มแผ่น หรือชิ้นส่วนโลหะไปยังอ่างหลอมเหลวของสังกะสี ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปการนำเหล็กกล้าไปผ่านกระบวนการกัลป์วาไนซ์

 

 

รูปการนำเหล็กกล้าผ่านการชุบสังกะสี กระบวนการกัลป์วาไนซ์

 

      เมื่อสังกะสีเหลวเย็นตัว มันจะแข็ง และเย็นไปพร้อมกับเหล็กกล้า ผลึกสังกะสีขนาดใหญ่ปกคลุมพื้นผิว สังกะสีที่เคลือบจะรักษาเหล็กกล้าไม่ให้เกิดสนิม จนกว่าสังกะสีที่เคลือบมันถูกทำลายออกไป

 

แล้วถ้าหากมีการทาสีเคลือบอีกชั้นหนึ่ง ก็จะยิ่งเพิ่มการป้องกันการกัดกร่อนให้มีเวลาที่ยาวนานขึ้นไปอีก

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

“เมื่อทำงาน ต้องมุ่งถึงจุดมุ่งหมาย ที่แท้จริงของงาน

งานจึงจะสำเร็จ ได้รับประโยชน์ครบถ้วน

ทั้งประโยชน์ของงาน และประโยชน์ของผู้ทำ” 
 

พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

พระราชทานเนื่องในโอกาส

วันข้าราชการพลเรือน ๑  เมษายน ๒๕๓๒

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา