บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,819
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 8,049
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 36,284
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,380,781
  Your IP :3.141.35.60

22 ทวิน พาราดอกซ์นำมาใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน 

 

      ความพร้อมกัน (Simultaneity) เป็นเครื่องมือที่ยอดเยี่ยมสำหรับการทำความเข้าใจเรื่องของความขัดแย้ง หรือพาราดอกซ์ (Paradoxes) มากมายที่เกี่ยวข้องกับสัมพัทธภาพ และหากต้องการให้มีการตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบ ต้องพิจารณาเหตุการณ์สัมพัทธภาพทั้งหมด ระหว่างกรอบแต่ละกรอบที่แยกออกจากกัน

 

 

รูปการใช้เหตุการณ์พร้อมกันมาอธิบายเรื่องความขัดแย้ง

ที่มา :  https://i.ytimg.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ ความรู้เพิ่มเติม

คลิก 

 

หนังสือเรื่องสัมพัทธภาพ รวมเล่มเป็นอีบุ๊คแล้ว หากสนใจ

คลิก

 

 

 

วิดีโออธิบายเรื่องการนำทวินพาราดอกซ์มาใช้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน

 

      ลองแวะไปดูทวิน พาราดอกซ์ จากตัวอย่างที่กล่าวมาของ อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  ที่ออกเดินทางไป 12 ชั่วโมงด้วยความเร็ว 60% ของความเร็วแสง ไปและกลับมาจุดเดิมด้วยความเร็วเดิม โดยทั่วไปแล้ว จะมีกรอบอ้างอิงอยู่สามกรอบ ที่จะต้องใช้พิจารณา

 

กรอบแรก ฝาแฝดอยู่บนพื้นโลกที่ไม่มีความเร็วสัมพัทธกันระหว่างทั้งสอง

 

กรอบที่สอง อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เดินทางขาออกไป

 

กรอบที่สาม อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เดินทางขากลับมา (ไปถึง และหันกลับทันที)

 

      จะใช้ตัวอย่างเหมือนกันกับก่อนหน้านี้ ยกเว้นจะใช้ตัวเลขจากการแปลงสมการลอเรนซ์ ตรงข้ามกับ ดอพเพลอชิปสัมพัทธ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่สังเกต   

 

 

กรอบอ้างอิงแรก

      แชท(อยู่บนพื้นโลก) และอะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เห็นด้วยกับทุกสิ่งทุกอย่างที่พวกเขาสังเกต อย่างนี้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่าย เนื่องจากไม่เกิดความเร็วสัมพัทธระหว่างฝาแฝดทั้งสอง เพราะพวกเขากำลังเคลื่อนที่ (หรืออยู่นิ่ง) ไปพร้อมกัน

 

กรอบอ้างอิงที่สอง 

      อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เดินทาง 12 ชั่วโมง ตามนาฬิกาที่เขาจับ ด้วยสมมติฐานสองข้อในใจเราว่า แชท(อยู่บนพื้นโลก) สังเกตการขยายตัวของเวลาในการเดินทางออกไปของอะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  

 

      ดังนั้น อะบีบันทึกได้ 12 ชั่วโมง ส่วนแชท(อยู่บนพื้นโลก) จะบันทึกได้ 15 ชั่วโมง จำไว้ว่าอะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เดินทางด้วยความเร็ว 60% ของความเร็วแสง การขยายเวลาจะเป็น 80%

 

      ดังนั้น ถ้าอะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  บันทึกเวลาของเขาถึง 12 ชั่วโมง นี่คือ 80% ของที่ซึ่งแชท(อยู่บนพื้นโลก) ได้บันทึกไว้ 15 ชั่วโมง แต่อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  ล่ะ จะสังเกตเวลาของแชท(อยู่บนพื้นโลก) ว่าเป็นเท่าไหร่?

 

      เขาสังเกตการยืดเวลาที่มีผลต่อแชท(อยู่บนพื้นโลก) ดังนั้น เขาวัดการเดินทางของเขา 12 ชั่วโมง แต่อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  สังเกตไปยังแชท(อยู่บนพื้นโลก) เป็นเวลา 9.6 ชั่วโมง (80% ของเวลาของเขา)

 

 

ผลรวมของกรอบที่สอง

 

      แชท(อยู่บนพื้นโลก) วัดเวลาของเขาได้ 15 ชั่วโมง แต่อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  วัดเวลาของเขาได้ 12 ชั่วโมง อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  วัดเวลาของเขาได้ 12 ชั่วโมงก็จริง แต่เขาวัดเวลาของแชท(อยู่บนพื้นโลก) ด้วย จับได้ 9.6 ชั่วโมง

 

      แน่นอนเหตุการณ์ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของการเดินทางขาออกไม่พร้อมกัน อะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  คิดว่าเวลาของแชท(อยู่บนพื้นโลก) คือ 9.6 ชั่วโมง

 

      แต่แชท(อยู่บนพื้นโลก) เองคิดว่าเวลาของเขา 15 ชั่วโมง ข้อที่กล่าวด้านบนนั่นคิดว่าพวกเขาคิดทั้งคู่เวลาของอะบี (บนยานความเร็วสูงเข้าใกล้ความเร็วแสง)  เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ซึ่งไม่สอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งในสองข้อแรก

 

ในหัวข้อต่อไป เราจะมาดูผลลัพธ์ของภาพจำลองนี้

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“การวัดคุณค่าของชีวิต

ไม่ได้วัดจากระยะเวลาที่อยู่

แต่วัดจาก

การทำคุณประโยชน์ของชีวิตนั้น

The measure of life is not its duration, but its donation

Peter Marshal

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา