บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 25
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 6,255
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 34,490
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,378,987
  Your IP :18.218.38.125

5.4 กฎข้อที่สองของนิวตัน

 

      ในกฎข้อแรกของนิวตันได้อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นกับวัตถุ ขณะที่ไม่มีแรงมากระทำต่อมัน สภาพการณ์ของวัตถุมันอาจเป็นได้ทั้ง นิ่งอยู่คงที่ หรือเคลื่อนที่เป็นแนวตรงด้วยอัตราเร็วคงที่ก็ได้

 

       ส่วนในกฎข้อที่สองของนิวตันได้อธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นของวัตถุ ภายหลังที่วัตถุถูกแรงกระทำ ซึ่งวัตถุอาจถูกแรงกระทำหนึ่งแรง หรือมากกว่าหนึ่งแรงที่กระทำต่อมันก็ได้

 

 

รูปการดันกล่อง

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      ลองนึกภาพ ในการทำการทดลอง ซึ่งคุณลองดันกล่องที่มีมวล m ไปโดยไม่คิดความเสียดทาน บนพื้นราบ คุณออกแรงผลักในแนวนอน F  บนกล่อง กล่องมันจะเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่ง a  แล้วถ้าหากคุณลองเพิ่มแรงขึ้นเป็นสองเท่ากระทำที่กล่องเดิม ผลที่ได้แสดงให้เห็นว่าจะเกิดความเร่งขึ้นสองเท่าต่อกล่องเช่นกัน แล้วถ้าหากคุณเพิ่มแรงไปเป็น 3F  ความเร่งก็จะเพิ่มเป็น 3 เท่า เป็นต้น

 

      จากการสังเกตดังกล่าว เราสรุปได้ว่า ความเร่งของวัตถุจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงที่กระทำ

 

 

รูปสมการ

 

แนวคิดนี้ถูกกล่าวไว้แล้วใน หัวข้อที่ 2.4 เมื่อเราอธิบายทิศทางของความเร่งของวัตถุ เมื่อเทียบกับมวลของมันแล้ว ความเร่งของวัตถุจะมีสัดสัดส่วนผกผันกับมวลของมัน

 

 

รูปสมการ

 

การสังเกตจากเหล่านี้ เราสรุปว่าเราได้เข้าสู่หลักความรู้ของ กฎข้อที่สองของนิวตัน (Newton’s second law)

 

      เมื่อมองจากกรอบอ้างอิงเฉื่อย ความเร่งของวัตถุจะเป็นสัดส่วนโดยตรงต่อแรงที่กระทำ และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของมัน

 

รูปสมการ

      หากเราเลือกสัดส่วนคงที่เป็น 1 เราสามารถสร้างความสัมพันธ์กันของมวล, ความเร่ง และแรงกระทำผ่านสมการทางคณิตศาสตร์จนกลายมาเป็นกฎข้อที่สองของนิวตัน

 

 

รูปสมการที่ 5.2

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

ชาติบ้านเมือง คือ ชีวิต เลือดเนื้อ และสมบัติของเราทุกคน

และการดำรงรักษาชาติประเทศนั้น 

มิใช่หน้าที่ของบุคคลผู้ใดหมู่ใดโดยเฉพาะ

หากแต่เป็นหน้าที่ของทุก ๆฝ่าย ทุก ๆคน

ทีจะต้องร่วมมือกระทำ พร้อมกันไปโดยสอดคล้องเกื้อกูลกัน

 

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีตรวจพลสวนสนาม เนื่องในโอกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก ๘ มิถุนายน ๒๕๑๔

 

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา