บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 246
เมื่อวาน 4,800
สัปดาห์นี้ 12,324
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 53,524
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,398,021
  Your IP :3.21.93.44

5.6 กฎข้อที่สามของนิวตัน

 

      หากเราลองใช้มือกดที่โต๊ะ โต๊ะก็จะผลักดันมือคุณด้วยแรงที่คุณกดลงไปขนาดแรงเดียวกัน ยิ่งกดลงไปหนักเท่าไหร่ แรงดันขึ้นมาก็จะเท่ากับแรงที่กดลงไปเท่านั้น

 

      นี้เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ที่จะทำให้เห็นรูปแบบของ ปฏิสัมพันธ์ (Interactions) ระหว่างวัตถุทั้งสอง เมื่อกดโต๊ะ โต๊ะก็ส่งผลตอบกลับ หลักการนี้ เราเรียกว่า กฎข้อที่สามของนิวตัน (Newton’s third law)

 

 

รูปตัวอย่างกฏข้อที่สามของนิวตัน

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

      หากว่าวัตถุสองวัตถุมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แรง F12 กระทำโดยวัตถุ 1 ไปบนวัตถุ 2 ซึ่งจะมีขนาดเท่ากัน และมีทิศทางตรงกันข้ามกับ แรง F21 ที่กระทำโดยวัตถุ 2 ไปบนวัตถุ 1

 

 

รูปสมการ 5.7

 

วิดีโอการ์ตูนอธิบายกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน

 

      มันเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อจะกำหนดแรงที่มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างวัตถุทั้งสอง เราจะใช้สัญกรณ์ห้อยนี้ โดยกำหนดให้ หมายถึง แรงที่กระทำบน b กฎข้อที่สามดูได้ที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปกฎข้อที่สามของนิวตัน แรง F12  กระทำบนวัตถุ 1 บนวัตถุ 2 มีขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม ที่แรง F21 กระทำโดยวัตถุ 2 บนวัตถุ 1       

 

แรงวัตถุ 1 กระทำบนวัตถุ 2 จะเรียกว่า แรงกิริยา (Action force) และแรงของวัตถุ 2 ที่กระทำต่อวัตถุ 1 เรียกว่า แรงปฏิกิริยา (Reaction force)

 

      ซึ่งเงื่อนไขเหล่านี้ ยังไม่ได้เป็นข้อตกลงในทางวิทยาศาสตร์ แรงทั้งคู่อาจจะบอกได้ว่าเป็นทั้งแรงกิริยา หรือแรงปฏิกิริยา สลับกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิจารณา

 

 

รูปตัวอย่างของแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา

 

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

“หลักการสำคัญประการหนึ่ง

ที่จะส่งเสริมให้ปฏิบัติงานสำเร็จ และเจริญก้าวหน้าได้แท้จริง

คือการไม่ทำตัว ทำความคิดให้คับแคบ

หากให้มีเมตตา และไมตรี ยินดีประสานสัมพันธ์กับผู้อื่น

โดยเฉพาะผู้ร่วม งานอย่างจริงใจ”  
    

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

 

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา