บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,747
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 7,852
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,778
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,665
  Your IP :34.205.142.9

5.3 ตรวจสอบ และรักษาอาการช็อก

 

5.3.1 สาเหตุ และผลกระทบ

 

5.3.1.1 การช็อกอาจเกิดขึ้นจากการบาดเจ็บเล็กน้อยของร่างกาย มักจะเป็นผลของ

 

·       การเสียเลือด

·       หัวใจล้มเหลว

·       การขาดน้ำ

·       การกระแทกที่รุนแรง ทำให้เกิดการเจ็บปวดกับร่างกาย

·       ร่างกายถูกเผาไหม้อย่างรุนแรง

·       ติดเชื้อที่แผลอย่างรุนแรง

 

 

รูปการณ์ติดเชื้อที่แผลอย่างรุนแรง (สยองนิด)

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

·       เกิดการแพ้ยา อาหาร แมลงสัตว์ กัด ต่อย งูกัด อย่างรุนแรง

 

 

5.3.1.2 การช็อกรุนแรง และร่างกายอ่อนแอ

      เมื่อร่างกายปกติมีการไหลเวียนของเลือดปกติไม่พอเพียง อาจเกิดทำให้เสียชีวิตได้ การบ่งชี้แรก และการรักษาที่เหมาะสมอาจช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บได้

 

5.3.1.3 ข้อมูล และรายละเอียดอื่น ๆ ในเรื่องเกี่ยวกับการช็อก และการรักษา

 

5.3.2 สัญญาณ /อาการ ตรวจดูความเสียหายเพื่อดูว่ามีสัญญาณ / อาการดังต่อไปนี้

 

Ø  ผิวมีเหงื่อ แต่เย็น (ผิวชื้น)

 

 

รูปผิวมีเหงื่อ แต่เย็น

Ø  ผิวหม่นหมอง

Ø  กระสับกระส่าย หงุดหงิด

Ø  กระหายน้ำ

Ø  เสียเลือด (เลือดออก)

Ø  สับสน (สูญเสียการรับรู้)

Ø  อัตราการหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติ

Ø  ผิวมีรอย หรือมีสีฟ้า (โดยเฉพาะรอบปาก หรือริมฝีปาก)

Ø  คลื่นใส้ และอาเจียน

 

 

5.3.3 การรักษา / ป้องกัน ในสนาม ขั้นตอนการรักษาการช็อก ก็เหมือนกันกับขั้นตอนดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการช็อก เมื่อทำการรักษาผู้บาดเจ็บ สมมติว่าการช็อกมีอยู่ หรือจะเกิดขึ้นไม่ช้า ด้วยการรอสัญญาณ / อาการที่จะเกิดขึ้นจริงของการช็อกที่ปรากฏชัด การช่วยชีวิตอาจเป็นอันตรายต่อผู้บาดเจ็บ

 

5.3.3.1 ตำแหน่งผู้บาดเจ็บ (ห้ามเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ หรือแขนขาของเขา หากสงสัยว่ากระดูกหัก ดูหัวข้อการเข้าเฝือก)

      1) เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บอย่างรอบคอบ หากความรอบคอบสามารถใช้ได้ และสถานการณ์ยอมให้

      2) วางผู้บาดเจ็บบนหลังของเขา

 

ข้อสังเกต: ผู้บาดเจ็บในการช็อกหลังจากหัวใจวาย, แผลที่หน้าอก หรือหายใจยาก หายใจง่ายขึ้นเมื่ออยู่ในตำแหน่งนั่ง หากเป็นกรณีนี้ทำให้เขานั่งตัวตรง แต่ต้องคอยตรวจสอบอย่างระมัดระวังในกรณีของเขาที่มีสภาพแย่ลง

 

      3) ยกเท้าของผู้บาดเจ็บให้สูงกว่าระดับของหัวใจ ใช้วัตถุที่มั่นคง (กล่อง, ก้อนหิน, แท่งไม้, หรือเสื้อผ้าม้วน) เพื่อให้เท้าของเขาจะได้ไม่หลุดออก ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปผู้บาดเจ็บคลายเสื้อผ้าให้หลวม และยกขา

 

คำเตือน: ห้ามยกขาหากผู้บาดเจ็บมีการหักของแขน /ขา, บาดเจ็บที่หัว หรือการบาดเจ็บที่ช่องท้อง (เข้าเฝือกหากสงสัยว่ากระดูกหัก และงาน) ประยุกต์ใช้เครื่องแต่งตัวเพื่อแผลที่เปิดตรงท้อง

 

คำเตือน: ตรวจสอบผู้บาดเจ็บ จากกรณีที่มีแขนขาหัก ทำการใส่เฝือกเท่าที่จำเป็น ก่อนที่จะยกขาขึ้นสูง สำหรับผู้บาดเจ็บที่มีแผลที่หน้าท้อง ให้วางเข่างอตรงตำแหน่งด้านบน

 

 

      4) คลายเสื้อผ้าที่บริเวณคอ เอว หรือที่ใดก็ตามที่มันถูกมัดแน่น

 

ข้อควรระวัง ห้ามคลาย หรือเอาออก ของเสื้อผ้าในบริเวณที่อยู่บริเวณสภาพแวดล้อมเคมี

 

      5)  ป้องกันไม่ให้ร่างกายหนาว หรือร้อนสูงเกินไป กุญแจสำคัญคือ เพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกาย ในสภาพอากาศที่เย็น ควรหาอะไรที่ทำให้ร่างกายมีความอบอุ่น ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปการณ์ที่ทำให้ร่างกายมีความอบอุ่นเสมอ

 

อย่างไรก็ตาม ถ้ามีการใช้สายรัด ควรปล่อยให้มันสัมผัส (หากเป็นไปได้) ส่วนในอากาศที่อุ่น ส่วนผู้บาดเจ็บให้วางไว้ในที่ร่ม และหลีกเลี่ยงการคลุมผ้าหนา ๆ มากเกินไป

 

      6) ให้ผู้บาดเจ็บสงบใจเย็น ขั้นตอนทั้งหมดของการรักษา และการดูแลผู้บาดเจ็บ ควรสร้างความมั่นใจให้กับผู้บาดเจ็บ และให้เขาสงบ ซึ่งจะช่วยให้การรักษาราบรื่น และสร้างความมั่นใจในตัวผู้รักษาเอง

 

      7) ขอความช่วยเหลือจากการแพทย์

 

 

5.3.3 อาหาร / น้ำ ระหว่างการรักษา / การป้องกันอาการช็อค  หาอาหารให้แก่ผู้บาดเจ็บได้กินอาหาร หรือควรมีการดื่มน้ำ หากเขาไม่ได้สติ การให้น้ำดื่ม ควรหันหัวของเขาไปด้านข้าง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการอาการอาเจียน

 

 

รูปหันศีรษะของผู้บาดเจ็บไปด้านข้าง ป้องกันการอาเจียน

 

5.3.4 ควรประเมินอุบัติเหตุ หากมีความจำเป็นที่จะต้องมีการประเมินค่าความเสี่ยง

 

 

จบบทที่ 6

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ร่วมน้อมรำลึกถึง คำพ่อสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

 

การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญนั้น

จะต้องสร้าง และเสริมขึ้นจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น 

ถ้าพื้นฐานไม่ดี หรือคลอนแคลนบกพร่องแล้วที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอีกนั้น ยากนักที่จะทำได้ 

จึงควรจะเข้าใจให้แจ้งชัดว่า นอกจากจะมุ่งสร้างความเจริญแล้ว

ยังต้องพยายามรักษาพื้นฐานให้มั่นคง

ไม่บกพร่อง พร้อม ๆ กันได้

 

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๓ 

 

 

 

ขอน้อมส่งพระองค์สู่สวรรคาลัย

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ

 

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา