บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,904
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 8,009
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 70,935
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,338,822
  Your IP :54.90.236.179

 

บทที่ 5 กฎของโอห์ม

 

      กฎของโอห์ม (Ohm’s law) กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างสามปริมาณพื้นฐาน ได้แก่กระแสไฟฟ้า, แรงดันไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า กล่าวว่ากระแสไฟฟ้าเป็นสัดส่วนโดยตรงต่อแรงดันไฟฟ้า และเป็นสัดส่วนผกผันต่อความต้านทาน

 

 

รูปกฎของโอห์ม

ที่มา :  https://dam-assets.fluke.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก

 

หากสนใจหนังสือ แมคาทรอนิกส์   

คลิก

 

      ในบทนี้จะตรวจสอบกฎของโอห์ม และวิธีการประยุกต์ใช้งานกับวงจร บางอย่างของแนวคิดได้กล่าวไว้แล้วในบทที่แล้วมา

 

 

5.1 วงจรไฟฟ้า

 

      ตามที่ระบุไว้ก่อนหน้า กระแสไฟฟ้าจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน จุดหนึ่งที่มีส่วนเกินของอิเล็กตรอนไปยังจุดที่อิเล็กตรอนขาด เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหล เรียกว่า วงจรไฟฟ้า (Electric circuit) วงจรไฟฟ้าทั้งหมดมีส่วนประกอบหลักคือ แหล่งแรงดันไฟฟ้า, โหลดภาระ และตัวนำ

 

 

รูปตัวอย่างวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

ที่มา :  https://www.elprocus.com

 

      แหล่งแรงดันไฟฟ้า ได้สร้างความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดแรงจนทำให้กระแสไฟฟ้าไหล แหล่งที่ได้นี้อาจจะมาจาก แบตเตอรี่, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ได้อธิบายไว้แล้วในบทที่ 3 แรงดันไฟฟ้า โหลดประกอบไปด้วยความต้านทานต่อการไหลของกระแสไฟฟ้า

 

      ความต้านทานอาจมีค่ามาก หรือน้อย มันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของวงจร กระแสไฟฟ้าในวงจรไหลผ่านตัวนำจากแหล่งจ่ายไปสู่โหลด ตัวนำต้องให้อิเล็กตรอนไหลผ่านได้ง่าย ส่วนใหญ่มักจะใช้ทองแดง

 

      เส้นทางของวงจรไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการรับภาระอาจเป็นไปได้จากวงจรสามประเภทได้แก่ วงจรอนุกรม, วงจรขนาน และวงจรอนุกรม-ขนาน วงจรอนุกรม ดูที่รูปด้านล่าง

 

 

รูปวงจรอนุกรมมีการไหลเส้นทางเดียวในการไหลของกระแสไฟฟ้า

ที่มา :  http://electricalacademia.com

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

ชีวิต

ก็เหมือนการปั่นจักรยาน

คุณจะต้องปั่นมัน

อย่างต่อเนื่อง

มันถึงจะทรงตัวได้”

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา