บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 75
เมื่อวาน 1,871
สัปดาห์นี้ 6,180
สัปดาห์ก่อน 15,976
เดือนนี้ 69,106
เดือนก่อน 47,501
ทั้งหมด 4,336,993
  Your IP :54.173.214.79

1.4 ระบบสุริยะจักรวาล

 

 

รูประบบสุริยะจักรวาล

ที่มา : http://sf.co.ua

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

 

 

ระบบสุริยะจักรวาลของเรา

ที่มา : https://wallpaperplay.com

 

      ระบบสุริยะจักรวาล (Solar system) มีดาวเคราะห์เก้าดวง ประกอบไปด้วยดาวเคราะห์ มีอยู่สี่ดวงที่อยู่รอบใน เป็นดาวเคราะห์หิน (Rocky inner planets) สี่ดวงรอบใน ซึ่งได้แก่ ดาวพุธ (Mercury), ดาวศุกร์, ดาวโลก, ดาวอังคาร

 

 

รูปดาวเคราะห์หินที่อยู่รอบในของระบบสุริยะจักรวาลของเรา

ที่มา : https://springfieldmuseums.org

 

และดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์ (Gas giant planets) ที่เป็นสี่ดวงรอบนอก ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) , ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวยูเรนัส (Uranus), ดาวเนปจูน (Neptune)

 

 

รูปดาวเคราะห์ที่มีสภาพเป็นก๊าซขนาดใหญ่รอบนอกของระบบสุริยะจักรวาลของเรา

ที่มา : https://www.universetoday.com

 

 

รูปภายในดาวเคราะห์ที่มีสภาพเป็นก๊าซ

ที่มา : https://solarsystem.nasa.gov

 

นอกจากนี้ยังมีดวงจันทร์ต่าง ๆ  ของแต่ละดาวเคราะห์ กับดาวแคระ (รวมไปถึงดาวพลูโต) และวัตถุอื่น ๆ ที่อยู่ในระบบสุริยะ รวมถึง แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างกลางของดาวอังคาร และดาวพฤหัส  

 

 

รูปแถบดาวเคราะห์น้อย

ที่มา : https://www.jpl.nasa.gov

 

แถบไคเปอร์ (Kuiper belt) ซึ่งอยู่ถัดออกไปหลังดาวเนปจูน ประกอบไปด้วยวัตถุที่เป็นน้ำแข็งขนาดเล็ก

 

 

รูปแถบไคเปอร์

ที่มา : https://i.pinimg.com

 

คุณสมบัติต่าง ๆ ของวัตถุดูได้ในตาราง 4.1 ปัญหาคือ วิธีการนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ในมุมมองที่มีความหมาย และน่าจดจำ

 

ดาวในระบบสุริยะจักรวาล

วงโคจร

(AU = 1.5 ´ 108 km)

รัศมี (km)

มวล (kg)

พื้นผิว และชั้นบรรยากาศ

ดวงอาทิตย์ (Sun)

0

700,000

2.0 ´ 1030  

ไฮโดรเจน 92%, ฮีเลียม 7 %

ดาวพุธ (Mercury)

0.13

2439

3.3 ´ 1023

หินบะซอลต์ (Basaltic rocks) และชั้นบรรยากาศปกคลุมไปด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม

ดาวศุกร์ (Venus)

0.72

6052

4.9 ´ 1024

หินบะซอลต์ และวัสดุเปลี่ยนแปลง, ชั้นบรรยากาศเป็น คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจน

โลก (Earth)

1

6378

6.0 ´ 1024

หินบะซอลต์ และหินแกรนิต (Granitic rock) และวัสดุหลากหลาย, ชั้นบรรยากาศไนโตรเจน และออกซิเจน

ดาวอังคาร (Mars)

1.5

3397

6.4 ´ 1023

หินบะซอลต์ และวัสดุหลากหลาย, คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจน

ดาวพฤหัส (Jupiter)

5.2

71492

1.9 ´ 1027

ไฮโดรเจน 90%, ฮีเลียม 10 %

ดาวเสาร์ (Saturn)

9.5

60268

5.7 ´ 1026

ไฮโดรเจน 97%, ฮีเลียม 3 %

ดาวยูเรนัส (Uranus)

19

25559

8.7 ´ 1025

ไฮโดรเจน 83%, ฮีเลียม 15 %

ดาวเนปจูน (Neptune)

30

24764

1 ´ 1026

ไฮโดรเจน 74%, ฮีเลียม 25 %

 

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“ชีวิตที่ยิ่งใหญ่

ไม่ใช่อยู่เหนือผู้อื่น

แต่คือการโน้มตัวเองลงมาใกล้ชิด

รับฟัง และช่วยเหลือผู้อื่น”

Suradet sri

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา