บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 634
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 6,864
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 35,099
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,379,596
  Your IP :18.217.228.35

      เรามีมุมมองเชิงคุณภาพแล้ว ดูได้ในตารางที่ 1.4.1 เป็นมุมมองในเชิงปริมาณ หนึ่งในสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการรู้ขนาดที่แน่นอนของโลกที่สัมพันธ์ถึงดวงอาทิตย์ แสดงในรูปด้านล่าง

 

 

รูปขนาดของดวงอาทิตย์ ดาวหาง, ดาวพฤหัส และโลก

ที่มา : http://spaceweather.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      จากข้อมูลที่ระบุเส้นผ่านศูนย์กลางของโลกมีเพียง 0.9% ของดวงอาทิตย์ รูปด้านบนเป็นการปรับขนาดโลก

 

 

รูปจุดดับของดวงอาทิตย์

ที่มา : https://www.windows2universe.org

 

                ในรูปด้านบน แสดงภาพของดวงอาทิตย์ที่ถ่ายด้วยแสงสีขาวที่จะเห็น จุดดับ (Sunspots) บนพื้นผิว จะเห็นได้ว่าโลกของเราจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับบางส่วนของจุดดับในดวงอาทิตย์บางจุดเลยทีเดียว

 

      ในตารางที่ 1.4.1 แสดงให้เห็นว่าดวงอาทิตย์มีมวลโดยรวม 99.9% ของระบบสุริยะ ในดาวพฤหัสมีมวล 0.1% ของมวลในระบบสุริยะจักรวาล

 

      ที่น่าสนใจก็คือ อัตราส่วนของมวลอิเล็กตรอน ต่อมวลของโปรตอนนั้นอยู่ประมาณ 0.5% หากลองอุปมาเปรียบเทียบดาวพฤหัสต่อดวงอาทิตย์เป็นเหมือนอิเล็กตรอน และโปรตอนในอะตอมไฮโดรเจน และจากมุมมองของมวล โลกอาจจะเทียบขนาดไม่ได้เลย

 

รูปจำลองการเทียบระบบสุริยะกับอะตอม

ที่มา : http://tse4.mm.bing.net

     

      มีการจำลองเพิ่มเติมระหว่างอะตอม และระบบสุริยะจักรวาล ตัวอย่างเช่น อะตอมรัศมี 1 เท่า มีประมาณ 10,000 เท่าของรัศมีนิวเคลียสดวงอาทิตย์ของมัน

 

      ถ้าหากเราออกไป 10,000 เท่าของรัศมีของรัศมีดวงอาทิตย์ เราจะได้ที่ (1´ 104) ´ (7 ´ 109) = 7 ´ 109 หรือ 46 AU ดังนั้น รัศมีอะตอมที่สัมพันธ์กับ รัศมีโปรตอน จึงเป็นเหมือนตำแหน่งของดาวเนปจูน (หรือดาวพลูโต) เมื่อเทียบกับรัศมีของดวงอาทิตย์ และแน่นอนว่าวงโคจรอิเล็กตรอน

 

      นิวเคลียสขณะที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ ในแง่หนึ่งโครงสร้างของอะตอมกำลังถูกทำซ้ำภายในระบบสุริยะ แต่มีความยาวสเกลใหญ่มากกว่ามากมาย

 

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“จุดหมายที่เราคิดว่า ไม่มีทางไปถึง

คือจุดหมายที่เรา ยังไม่ได้เริ่มต้น

The only impossible journey is the one you never begin.

Tony Robbins

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา