บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 903
เมื่อวาน 1,522
สัปดาห์นี้ 2,425
สัปดาห์ก่อน 12,965
เดือนนี้ 43,625
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,388,122
  Your IP :3.14.6.194

1.6 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และการแผ่รังสีของวัตถุดำ

 

      ณ จุดนี้ ควรหยุด และถามคำถาม แล้วเราจะรู้ถึงองค์ประกอบของดาวเคราะห์ และดวงอาทิตย์ได้อย่างไรล่ะ เมื่อไม่มีใครอยู่ที่นั่นจริง ๆ อันที่จริง องค์ประกอบ และอุณหภูมิของบรรยากาศของดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์ เป็นที่รู้จักกันมานาน ตั้งแต่ก่อนการปรากฏตัวของการเดินทางไปในอวกาศ

 

ข้อมูลนี้ได้รับอย่างไร? มันมาจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnetic waves: EM) รวมไปถึงแสงที่มองเห็นได้ด้วย ที่ปล่อยออกมาจากวัตถุ เทคนิคเหล่านี้เรียกว่า การรับรู้ระยะไกล (Remote sensing)

 

รูปตัวอย่างการใช้ดาวเทียมเพื่อการเรียนรู้ระยะไกล

ที่มา : http://site-292663.mozfiles.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

หนังสืออีบุ๊ค

ดวงดาว และอวกาศ (Stars & Space) 1

รวมเป็นเล่มให้แล้วนะครับ หากสนใจ ลิ้งค์ด้านล่าง

คลิก

 

ได้รับการพัฒนาขึ้นพร้อมกับการปรากฏตัวของกล้องโทรทรรศน์ในปลายศตวรรษที่ 16 และยังคงมีการทำงานต่อไปจวบจนทุกวันนี้ แม้แต่ยานอวกาศที่ทันสมัยที่สุด ก็ใช้วิธีเดียวกันนี้ และก็ถูกทำเป็นเครื่องมือวิจัยหลักสำหรับการสำรวจบนดาวอังคาร

 

 

รูปการใช้การรับรู้ระยะไกลสำรวจหุบเขาบนดาวอังคาร

ที่มา : https://i.ytimg.com

      ในธรรมชาติ มีคลื่นอยู่หลายประเภท เช่น การสั่นของสปริงขึ้น / ลง, การโยนหินลงไปในน้ำจนเกิดคลื่นน้ำ นี่เป็นตัวอย่างที่เราเห็นทั่วไปในชีวิตประจำวัน ยังมีตัวอย่างอื่นอีกที่เราอาจจะไม่สามารถสังเกตได้ นั่นก็คือ คลื่นเสียง (Sound waves)

 

      ซึ่งก็คือ การแกว่งของความดันในตัวกลางที่เคลื่อนที่ โดยทั่วไปจะเป็นอากาศที่เป็นตัวกลางบนพื้นโลกที่ใช้กับมนุษย์

 

      ในทุกกรณีเหล่านี้ มันเป็นวิธีเชิงกลที่ความเร็วของคลื่นถูกกำหนดโดยคุณสมบัติของตัวกลาง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum) ประกอบด้วยสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กที่สั่นจากที่คลื่นทำขึ้น คลื่นเหล่านี้สามารถแพร่กระจายในสุญญากาศด้วยความเร็วของแสง (c = 3´108 m/s)

 

      คลื่นกลสามารถเกิดขึ้นได้ในอวกาศ แต่พวกมันบอบบางเป็นอย่างมาก เนื่องจากธรรมชาติของพื้นที่ และการเดินทางด้วยความเร็วตามธรรมชาติของวัสดุ

 

      ในอากาศ ความเร็วของเสียงเมื่อเทียบกับความเร็วแสงมีความช้ากว่ามาก มีความเร็วอยู่ที่ 343 m/s ด้วยเหตุนี้ เวลาฝนตกฟ้าคะนองเราจะเห็นฟ้าแลบก่อนหลายวินาทีก่อนที่จะได้ยินเสียงร้องฟ้าที่ผ่าลงมา (หากไม่มีความล่าช้า แสดงว่าคุณอยู่ใกล้เกินไป)

 

รูปฟ้าแลบ

ที่มา : https://www.adomonline.com

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เมื่อมีรากฐานที่มั่นคง

ก็ไม่ต้องกลัวคลื่นลมใด ๆ

When the roots are deep,

there is no reason to fear the wind.

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา