บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 1,078
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 7,308
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 35,543
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,380,040
  Your IP :18.227.24.209

แสงมองเห็นได้ เครื่องมือวินิจฉัยระยะไกล

 

      แสงที่มองเห็นได้ (Visible light) ครอบคลุมช่วงของความยาวคลื่น ซึ่งดวงตาของมนุษย์เรา ตีความว่าเป็นสีที่ต่างกัน เรารู้ว่ามีสีที่แตกต่างกันโดยดูจากวัตถุที่แตกต่างกัน สเปกตรัมที่เป็นสีเต็มรูปแบบสามารถเห็นได้ตามธรรมชาติ ดูได้จากการเกิดของ สายรุ้ง (Rainbows)

 

 

รูป สายรุ้ง

ที่มา : https://www.uctoday.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

 

สนใจหนังสือ และความรู้ของผู้เขียน

เรื่องอื่น ๆ มีทั้งโหลดได้ฟรี และราคาถูก นอกเหนือจากนี้ 

 

คลิก 

 

มีหนังสือ ดวงดาว และอวกาศ (Stars & Space) 1

ทำเป็นเล่ม อีบุ๊ค เพื่อสนับสนุนเว็บไซต์

รูปหน้าปกหนังสือ

 

สามารถโหลดอ่านตัวอย่างก่อนซื้อได้เลยครับ ฟรี

หากผู้อ่านสนใจ

คลิก

 

      มีสีหลักอยู่ 7 สีด้วยกัน อันได้แก่สี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ส่วนสเปกตรัมของแสงที่มองเห็นได้ ดูได้ในรูปด้านล่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รูป แถบสเปกตรัมสีที่มองเห็น

ที่มา : http://www.livelymoo.com

 

      สเปกตรัมจากแสงที่ส่องออกมา สามารถมองเห็นได้โดยการใช้ แท่งแก้วปริซึม (Prism) ตามที่เห็นในรูปด้านล่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รูป การแยกสีขาวไปเป็นแต่ละสี ผ่านแท่งแก้วปริซึม

ที่มา : https://www.picclickimg.com

 

      ปริซึมก็คล้ายกับรุ้ง ใช้กระบวนการที่เรียกว่า การหักเหของแสง (Refraction) เพื่อแยกแต่ละส่วนของสเปกตรัม การหักเหขึ้นอยู่กับความจริงที่ว่า ความเร็วของแสงจะเปลี่ยนไป เมื่อมันเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างกัน

 

      ด้วยความยาวคลื่นที่สั้นที่สุด คือ แถบสีม่วง จะเกิดปฏิสัมพันธ์อย่างรุนแรง กับอะตอมของธาตุที่มีความยาวคลื่นที่ยาวกว่า และเคลื่อนที่ช้ากว่า

 

      ดังนั้น เมื่อแสงกระทบปริซึมแก้วเป็นมุม สีของความยาวคลื่นที่สั้น(สีน้ำเงิน) เปลี่ยนเป็นมุมที่ใหญ่กว่า สีที่มีความยาวคลื่นยาวกว่า (สีแดง)

 

 

รูป แท่งแก้วปริซึม

ที่มา : https://5.imimg.com

 

      ภาพด้านบนจากปริซึมเล็ก ๆ จนเริ่มต้นการพัฒนาไปเรื่อย ๆ  และยังเข้าใจปรากฏการณ์ของเลนส์ ทำให้ปริซึมที่มีความแม่นยำสูงได้รับการพัฒนาขึ้น ในปี พ.ศ. 2357 โดย โจเซฟ ฟอน เฟราน์โฮเฟอร์ (Joseph von Fraunhofer)

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“จงอ้าแขนรับต่อการเปลี่ยนแปลง

แต่อย่าได้ทิ้งคุณค่าที่มีอยู่ในตัวของคุณ”

ดาไล ลามะ (Dalai Lama)

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                     หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา