บทความ
 เคมี (Chemistry)
 สู่อิสรภาพทางการเงิน (To Financial Freedom)
 การคำนวณ และออกแบบ (Calculation and design)
 เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)
 เครื่องมือกล (Machine tools)
 Laws of Nature
 อวกาศ
 พลังงาน
 อิเล็กทรอนิกส์
 ทฤษฏีสัมพัทธภาพ
 ไครโอเจนิกส์
 เฮลิคอปเตอร์
 เกียร์อัตโนมัติ
 โทรศัพท์มือถือ
 ยาง
 รถไฟความเร็วสูง
 คลัตช์ และกระปุกเกียร์ธรรมดา
 เจ็ทแพ็ค
 แผ่นดินไหว
 คู่มือ ต้องรอด
 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ
 ดาวเทียม
 เชื่อมโลหะใต้น้ำ
 กังหันลมผลิตไฟฟ้า
 เครื่องยนต์ดีเซล
 เครื่องยนต์เบนซิน
 คัมภีร์สงครามซุนวู ฉบับเข้าใจง่าย
 โลหะ
 ฟิสิกส์
 ปัญหาพระยามิลินท์
 ยานยนต์สมัยใหม่
 แมคาทรอนิกส์
 เครื่องกล 6 แกน
 เครื่องยนต์เจ็ท
 หุ่นยนต์
 สินค้า ผลงาน
 เขียนแบบ
 ออกแบบ คำนวณ
 วางโครงการ
 งานโลหะ
 อุปกรณ์
 เครื่องกล
วันนี้ 688
เมื่อวาน 1,634
สัปดาห์นี้ 6,918
สัปดาห์ก่อน 11,634
เดือนนี้ 35,153
เดือนก่อน 76,610
ทั้งหมด 4,379,650
  Your IP :18.118.140.108

      มีการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถขึ้นจากเครื่องกลธรรมดา จนมาเป็นวิธีการนำเอาเทคนิคในอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่คิดค้นขึ้น เช่น การทำสำเนา (Copying) ชิ้นงาน, ลูกเบี้ยว (Cams), อุปกรณ์ยึด (Attachments) และกลไกอัตโนมัติ (Automatic mechanisms) มาใช้งาน

 

 

รูปตัวอย่างเครื่องกลึงสำเนาชิ้นงาน

ที่มา : https://www.scmgroup.com

แนะนำเพื่อให้อ่านได้ต่อเนื่องให้ คลิกขวาเลือก Open link in new window

 

หากสนใจหนังสือ อื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ 

คลิก 

 

      เพื่อลดแรงงานที่ทำด้วยมือ, เพิ่มความเที่ยงตรงของชิ้นงาน และเพิ่มผลผลิต เครื่องวัดพลังงาน (Dynamometer) เครื่องมือกล

 

 

รูปตัวอย่างเครื่องวัดพลังงานที่ติดตั้งในเครื่องมือกล

ที่มา : https://www.mdpi.com

 

ถูกนำมาใช้กับเครื่องมือกลเพื่อทำการวัด, เฝ้าสังเกต และควบคุมแรงกระทำทั่วไปอันเนื่องมาจากการทำงานกับเครื่องกล เช่นการคำนวณแรงวิธีการของเข้าซองของเครื่องมือเพื่อเปลี่ยนมีด หรือแรงกระทำกับชิ้นงาน และยึดชิ้นงาน หรือยึดเครื่องมือให้ติดแน่นในการทำงาน เพื่อความแม่นยำของขนาดชิ้นงาน และเพื่อพื้นผิวชิ้นงานที่สมบูรณ์

 

รูป ตัวอย่างเครื่องวัดพลังงาน

ที่มา : http://www.eldigi.in

 

รูปตัวอย่างเครื่องกดอัดไฮดรอลิกส์ที่ใช้ระบบ NC

ที่มา : http://img.en.china.cn

 

      ในปี พ.ศ. 2496 ได้เริ่มนำอุปกรณ์ควบคุมด้วยตัวเลข (Numerical Control: NC) มาใช้ เป็นการปูแนวทางไปสู่เทคโนโลยีของการใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมด้วยตัวเลข (Computer Numerical Control: CNC) และการนำทางที่ควบคุมด้วยตัวเลข (Direct Numerical Control: DNC) ในเครื่องกลอเนกประสงค์ (Machining centers)

 

 

รูปเครื่องกลอเนกประสงค์ หรือแมชชีนนิ่งเซ็นเตอร์

ที่มา : https://industrychronicles.com

 

      การวิวัฒนาการเหล่านี้ เป็นการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีขนาดที่แม่นยำ และสามารถทำการผลิตซ้ำ ๆ เป็นรูปแบบเดียวกันได้มากขึ้น

 

      เครื่องมือกลมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีไปอย่างมาก เวลาที่ผ่านไปมีการพัฒนาโดยการใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก (Microelectronics), ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessors) และระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้งานให้มีความทันสมัยมากขึ้น

 

 

 

 

ข้อคิดดี ๆ ที่นำมาฝาก

 

“เวลา ย้อนคืนไม่ได้

แต่ไม่สายที่จะเริ่มต้นใหม่

อะไรที่ผ่านไปแล้ว ก็ให้ผ่านไป

ให้เริ่มใหม่เพื่อชีวิตที่ดี”

@หราาา

 

 

<หน้าที่แล้ว                                 สารบัญ                    หน้าต่อไป>

 

 

Share on Facebook
 
Google

WWW
http://www.thummech.com/
ฟังเพลงออนไลน์ คลิกเลย
 
Copyright © 2013-2015 Thummech All Rights Reserved. 
Powered by  ThaiWebPlus 
คนธรรมดามีความรู้คือคนฉลาด คนฉลาดมีความเข้าใจคือคนธรรมดา